แบบฝึกหัด เรื่อง โพรโทคอล/การรับ-ส่งข้อมูล
Sign in to Google to save your progress. Learn more
ข้อมูลส่วนตัว
ชั้น ม.4 ห้อง *
เลขที่ *
ชื่อ-นามสกุล *
ตอนที่ 1 แบบถูกผิด
1. ข้อความต่อไปนี้เป็นการสื่อสารรูปแบบใด *
การสื่อสารทางเดียว
การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา
การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา
1.1 วิทยุสื่อสาร
1.2 การดูรายการโทรทัศน์
1.3 การคุยโทรศัพท์
1.4 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
1.5 การฟังวิทยุ
ตอนที่ 2 แบบจับคู่
1. ใช้ในการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไปยังกล่องรับไปรษณีย์ที่เป็นจุดหมายปลายทาง *
2. ใช้ในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน ให้สามารถสื่อสารกันได้ *
3. ใช้สำหรับการโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การดาวน์โหลด (Download) หรือการอัพโหลด (Upload) *
4. ใช้ในการส่งเว็บเพจที่อยู่บนเครื่องให้บริการข้อมูล (Server) มาแสดงที่เครื่องใช้บริการ (Client) *
5. ใช้ในการติดตั้งระบบแลนไร้สายในบ้านหรือสำนักงาน โดยใช้คลื่นวิทยุในการรับ-ส่งข้อมูล *
6. ใช้ในการดึงไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จากกล่องรับมาเก็บไว้ที่เครื่องตนเอง *
7. ใช้คลื่นวิทยุรับ-ส่งข้อมูล ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ไร้สาย เช่น เมาส์ หูฟัง แป้นพิมพ์ *
8. ใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ระยะใกล้โดยใช้แสงอินฟราเรด นิยมใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ *
ตอนที่ 3 ให้นักเรียนใส่หมายเลข 1-7 ลงในช่องว่างเพื่อเรียงลำดับชั้นการทำงานของมาตรฐานการจัดระบบการเชื่อมต่อสื่อสารระหว่างระบบเปิด (Open System Interconnection: OSI)
ชั้นเครือข่าย (Network layer) เป็นส่วนควบคุมและแยกแยะข้อมูลเพื่อส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง ให้เป็นไปตามเส้นทางที่กำหนด *
ชั้นการประยุกต์ (Application Layer) เป็นส่วนที่ติดต่อระหว่างซอฟต์แวร์ประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ *
ชั้นส่วนงาน (Session layer) เป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบและขอบเขตการรับ-ส่งข้อมูล *
ชั้นกายภาพ (Physical layer) เป็นส่วนแปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้ *
ชั้นขนส่ง (Transport layer) เป็นส่วนที่ตรวจสอบและควบคุมการรับ-ส่งระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง *
ชั้นการนำเสนอ (Presentation layer) เป็นส่วนแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องผู้รับเข้าใจด้วยการเข้ารหัสและถอดรหัส *
ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link layer) เป็นส่วนบริการส่งข้อมูล ควบคุมความถูกต้องระหว่างการส่งข้อมูลระหว่างจุด 2 จุด *
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy